.

.
"สุขา สังฆัสสะ สามัคคี ความพร้อมเพรียงของหมู่คณะ ทำให้เกิดสุข"
ข่าวประชาสัมพันธ์



ขอประกาศเลิกอัฟเดทข้อมูลที่Blogแห่งนี้
สามารถเข้าไปใช้งาน website อย่างเป็นทางการได้ที่
http://www.tsa-bhu.org/


ข่าวเด่น

* ขอแสดงความยินดีแด่.. พระครูใบฎีกา ดร. มานิตย์ เขมคุตโต , พระมหา ดร. ธีรชัย ปุญฺญชีโว , พระ ดร. ราเชนทร์ วิสารโท ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ B.H.U. ในปี ๒๕๕๓






* สมาคมพระนักศึกษาไทย มหาววิทยาลัยเมืองพาราณสี ร่วมใจกันลงอุโบสถ ที่วัดไทยสารนาถ พร้อมเจริญพระพุทธมนต์ ณ ธัมเมกขสถูป เนื่องในวันมาฆบูชา วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์





สมาคมพระนักศึกษา นักศึกษาไทย มหาวิทยาลัยเมืองพาราณสีได้ร่วมใจกันจัดงานประเพณีสงกรานต์ "๑๓ เมษา เสนคุปต้ามหาสงกรานต์" ประจำปี ๒๕๕๓ ณ หอเสนฯ โดยมีคณาจารย์ทางมหาลัย และต่างชาติเข้าร่วมนับร้อยชีวิต ในวันที่ ๑๓ เมษายน ที่ผ่านมา





* พระนักศึกษา นักศึกษาไทย มหาวิทยาลัยเมืองพาราณสี ร่วมใจกันจัดกิจกรรมพิเศษ เนื่องในวันพ่อแห่งชาติ (๕ ธันวามหาราช) เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล





* ๕ ธันวามหาราช ขอเชิญร่วมถวายภัตตาหารเพลพระนักศึกษาไทย และนานาชาติ จำนวน ๘๒ รูป และร่วมจุดเทียนชัยถวายพระพรได้ที่ หอเสนคุปตลอล์จ ในวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๒





* กฐินสังฆประชาสามัคคี ณ หอเสนคุปตาลอจ์ด มหาวิทยาลัยบาณารัส ฮินดู วันที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๒ นำโดย พระธรรมวรนายก เจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา


ดินแดนเกิดของศาสนาอิสลามและเข้าทำลายพุทธศาสนาในอินเดีย

ศาสนาอิสลามเกิดในที่ทุรกันดาร คือ ประเทศ ซาอุดิอาระเบีย ในปัจจุบัน ศาสนิก คือ ผู้นับถือศาสนาอิสลามนั่นเอง และเรียกตัวเองว่า “มุสลิม”
ศาสดาของศาสนาอิสลามมีนามว่า “มุฮัมหมัด” คำว่า ศาสดาในที่นี้ พวกชาวมุสลิม ใช้คำว่า “นบี” (Nabi) นบี มุฮัมหมัด ประสูติ ที่เมืองเมกกะฮ์ (Mecca) เมื่อประมาณ ค.ศ. ๕๗๐ คือ พ.ศ. ๑๑๑๓ ในยุคพวกชนเผ่าอาหรับแตกคอกันค่อนข้างมาก คือหลายเผ่า ว่ากันอย่างนั้นเถอะ
มุฮัมหมัดกำพร้าบิดาตั้งแต่ยังประสูติหรือเกิด และกำพร้ามารดา เมื่ออายุ ๖ ขวบ ปู่เป็นผู้ดูแลมาจนอายุ ๘ ขวบ ย้ายไปอยู่ในความดูแลของลุง ชื่อว่า อานูตาลิบ ซึ่งเป็นหัวหน้าเผ่า ฮะซิม
เมื่ออายุ ๒๕ ปี ท่านได้ไปทำงานดูแลกิจการค้าขายของเศรษฐีนีหม้าย ชื่อว่า ขะดิยะฮ์ (Khadijah) ต่อมาเมื่อท่านได้สมรสกับนางขะดิยะฮ์ จึงทำให้มีเวลาว่างมาก เพราะว่าได้ภรรยารวย จึงไปทำความสงบทางใจ เมื่ออายุประมาณ ๔๐ ปี ประมาณ ค.ศ. ๖๑๐/พ.ศ. ๑๑๕๓ (ตรงนี้คิดว่า ท่านมุฮัมหมัด น่าจะรู้จักพระพุทธศาสนาแล้ว ถึงวิธีการปฏิบัติสมาธิ ท่านเรียกว่าไปหาความสงบในถ้ำ) ท่านได้มองเห็นว่า “พระอัลเลาะฮฺเจ้า ได้มอบโองการให้ท่านสั่งสอน ต่อแต่นี้เรื่อยมาได้รับพระริวรณพจน์ เพิ่มมาเรื่อย ๆ ( คือ รับคำสอนจากพระเจ้า) จนรวมกันเป็นคัมภีร์ “อัลกุรอาน “ ซึ่งมีหลักการสูงสุดว่า มีพระเจ้าองค์เดียวคือ อัลเลาะฮฺ (Allah) และมุฮัมหมัด เอง เป็น “นบี” คือเป็นศาสดาผู้ประกาศพระวจนะของ อัลเลาะฮฺ (Prorhet)
เมื่อ นบี มุฮัมหมัด เผยแพร่คำสอน ทุกศาสนาถูกเป็นปฏิปักษ์มุ่งร้ายของศาสนานี้ แม้แต่ในเมืองเมกกะเอง ก็ถูกต่อต้านอย่างหนัก แต่เป็นโอกาสดีที่มีลุงเป็นหัวหน้าเผ่าคุ้มครอง ก็เลยรอดจากการถูกทำร้าย และก็มีภรรยาเป็นเศรษฐี สนับสนุนด้วย ต่อมาทั้งสองถึงมรณกรรมลง จึงหมดผู้คุ้มครอง
ท่านมองเห็นภัยบีบคั้น ไม่ให้สั่งสอน จึงหนีตาย จากเมือง เมกกะฮ์ พร้อมด้วยสาวกประมาณ ๗๐ คน ตัดความสัมพันธ์กับสายเลือด คือเผ่าตัวเอง ในเมืองเมกกะฮ์ ไปอยู่ที่เมือง ยาธริบ (Yathrib) ทางตอนเหนือประมาณ ๔๐๐ กิโลเมตร
เหตุการณ์สำคัญนี้ ถือเป็นการเริ่มต้นศักราชของศาสนาอิสลาม ที่เรียกว่า “ฮิจเราะฮ์”(Hijrah) เป็นภาษาอาหรับ แปลว่า “อพยพ” และศักราชของศาสนาอิสลาม จึงเท่ากับ พ.ศ. ๑๑๖๕ และบ่อเกิดของการทำลายล้างศาสนาอื่นๆ โดยเฉพาะพุทธศาสนา ซึ่งถูกทำลายล้างมากกว่าศาสนาอื่น ๆ ทั้งในประเทศอินเดียที่เป็นต้นกำเนิดของพุทธศาสนาและประเทศอื่นที่พุทธศาสนาเผยแพร่ไป
ที่เมือง ยาธริบ หรือเมือง มะดีนะฮ์ ในปัจจุบัน ที่ นบี มุฮัมหมัด ย้ายไปจากเมือง มักกะฮ์ มีความขัดแย้งระหว่างเผ่า นบี มุฮัมหมัด ต้องสู้รบกับชนเผ่าเหล่านี้ ถึงฆ่าคนเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะพวกยิว หรือ อิสลาเอล ในปัจจุบัน พวกผู้ชายถูกสังหารโหดจนหมด และขายผู้หญิงและเด็กเป็นทาสให้ออกพ้นไปจากเมือง มะดีนะฮ์
ครั้นถึงเดือน มกราคม ปี ค.ศ. ๖๓๐/พ.ศ. ๑๑๗๓ ทางเมืองเมกกะ อ่อนกำลังลง นบี มุฮัมหมัด จึงยกกำลังพล ประมาณ ๑๐,๐๐๐ นาย ไปตีเมือง เมกกะ ได้ นบี มุฮัมหมัด ใช้เวลา ๑๘-๒๐ วันจัดการวางระบบบริหารปกครองเมืองเมกกะ (เมืองเกิดของท่านที่หนีภัยก่อการร้ายของเผ่าต่าง ๆ ไปตั้งป้อมที่เมือง มะดีนะฮ์) การบริหารการจัดการปกครองครั้งนี้ ได้ทำลายรูปเคารพ (idole) จนหมด จากมหาวิหารกะมะฮ์ และศาสนสถานใกล้เคียง แล้วกลับสู่ มะดีนะฮ์ ช่วงนี้ นบี ต้องออกรบกับชนเผ่าอื่นที่แข็งข้อ จนสามารถควบคุมชนทุกเผ่าได้ และถึงปี ค.ศ. ๖๓๒/พ.ศ. ๑๑๗๕ ท่าน นบี ได้ถึงแก่กรรม
นบี มุฮัมหมัด จบสิ้น แต่หลักคำสอน และหลักเกณฑ์ไม่จบตามท่าน จึงเป็นเหตุให้ศาสนาอื่น ๆ เดือดร้อนไปตาม ๆ กัน โดยเฉพาะพุทธศาสนา จนหายไปจากอินเดียที่เป็นต้นกำเนิดของศาสนาพุทธ
การแผ่ขยายของศาสนาอิสลาม
เนื่องจากท่านมีภรรยาถึง ๙ คน แต่บุตรชายทั้งหมดเสียชีวิตตั้งแต่ยังเป็นทารก ธิดาก็มีเพียงคนเดียวที่ยังเหลือชีวิตอยู่ ชื่อ ฟาติมะฮ์ (Fatimah, ที่เกิดจาก นางขะดิยะฮ์) จึงหาคนสืบทอดไม่ได้ ซึ่งเรียกว่า(กาหลิฟ;Caliph) จึงเกิดการแตกแยก เป็นเหตุเกิดของนิกาย ชีอะฮ์ (Shi’ah แปลว่า ผู้ชอบธรรม) และนิกาย สุนหนี่ (Sunni;แปลว่า ผู้สืบสายประเพณี) จึงกลายเป็นมุสลิม ๒ นิกาย สืบมา
ภายในเวลาเพียง ๑ ศตวรรษ นับแต่ศาสนาอิสลามเกิดขึ้น จักรวรรดิมุสลิมอาหรับแผ่ไป เช่น ทางตะวันตก ย่านอาฟริกาเหนือ ขึ้นยุโรปไปครองสเปน ยังที่ฝรั่งเศส, ตะวันออก ผ่านอัฟกานิสถาน ลงข้างล่าง เข้าลุ่มแม่น้ำสินธุ ครองแคว้นสินท์ ทะลุปากีสถาน เข้าไปถึงภาคตะวันตกของอินเดีย ยันดินอยู่รัฐคูชราต ทางเหนือตามเส้นทางสายไหมเข้าเอเชียกลาง ไปจรดชายแดนจีน
พวกมุสลิมอาหรับ เข้าครอบครองแคว้นสินท์ โดยใช้กองทัพเรือตีเมือง วลภี ล้มราชวงค์ ไมตรกะ และทำลายล้างพระนครพินาศลง โดยสิ้นเชิง ราว ค.ศ. ๗๗๕/พ.ศ. ๑๓๑๘
ครั้งนั้น มหาวิทยาลัย วลภี ถูกทำลายลงด้วยอย่างไม่เหลือแม้แต่ซาก เป็นมหาวิทยาลัยของพุทธศาสนาแห่งแรกที่ถูกทำลาย (ถ้าไม่นับตักศิลา)
มุสลิมอาหรับพิชิตเอเชียกลางได้แล้ว ก็เป็นชนชาติเหล่านั้นเป็นมุสลิม และให้ใช้ภาษาอาระบิกเป็นภาษาราชการ (นี้คือ โดยธรรมชาติของมุสลิม ต้องเปลี่ยนธรรมเนียมและวัฒนธรรมของเขา ถ้าเขาไม่เปลี่ยนคือตายสถานเดียว แล้วพวกมุสลิมมักพูดว่า มุสลิมไม่รุกรานใครก่อน ไม่ทำร้ายผู้อื่น ทั้งที่ประวัติศาสตร์บ่งบอกถึงความเป็นอันธพาล ทำร้ายผู้อื่น เห็นกันชัด ๆ) ถึงจุดหมดยุคมุสลิมอาหรับ เข้าสู่มุสลิมเตอร์ก มุสลิมไหนทำลายศาสนาพุทธเหมือนเดิม
จากยุคมุสลิมอาหรับเข้าสู่มุสลิมเตอร์ก (ในช่วงปี ๙๒๙-๑๐๓๑/๑๔๗๒/๑๕๗๔)
พวกเตอร์กได้รับศาสนาอิสลาม จากมุสลิมอาหรับ (เกือบ ๒๐๐ ปี ก่อนนั้น) ครั้นเวลาผ่านไป ก็เจริญเข้มแข็ง ก็เริ่มขยายอำนาจแผ่อิสลามบ้าง จนที่สุดมุสลิมเตอร์กก็เข้าแทนที่มุสลิมอาหรับ
เส้นทางของ “มุสลิมเตอร์ก” ก็ย้อนคืนสู่อาหรับ โดยใช้เส้นทางสายไหม ลงมาในอาฟกานิสถาน แล้วเข้าไปตะวันออกกลาง เริ่มแต่อิหร่าน เข้าแบกแดด จนสุดแดนอาหรับ จบที่ตุรกี
แต่เมื่อลงมาในอาฟกานิสถาน แทนที่จะเลี้ยวขวาขึ้นอิหร่าน ผ่านเข้าสู่ตะวันออกกลาง กลับเลี้ยวซ้ายเข้าอินเดีย
ในปี ๙๗๗/๑๕๒๐ ได้เกิดอาณาจักรมุสลิมเตอร์กตั้งตัวเป็นสุลต่านขึ้นในอาฟกานิสถาน ซึ่งแผ่อำนาจเข้าไปในอิหร่าน และยกทัพมาตีอินเดีย ถึงปัญจาบและแม่น้ำสินธุ
จนกระทั่งถึงปี ๑๒๐๖/๑๗๔๙ มุสลิมเตอร์กก็สามารถตั้งรัฐสุลต่านแห่งเดลี ขึ้นเป็นอาณาจักรมุสลิมเริ่มแรกในอินเดีย
พระพุทธศาสนาก็ได้สูญสิ้นไปจากอินเดีย โดยการรุกรานและทำลายในคราวครั้งนี้
กองทัพมุสลิมเตอร์กยาตราทัพเข้าที่ไหน ก็ทำลายที่นั่น ทั้งฆ่า ปล้นทรัพย์ และบังคับให้เปลี่ยนศาสนา ศูนย์กลางใหญ่ ๆ ทางพุทธศาสนา โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยนาลันทา โปทันทะบุรี วิกรมศิลา เป็นต้น ถูกทำลาย ทั้งฆ่าพระสงฆ์เป็นจำนวนมาก และเผาอาคารสถานที่จนไม่เหลือ (พวกมุสลิมยุคหลังบอกว่า มุสลิมไม่เคยรุกรานใคร นอกจากป้องกันตัวเองเท่านั้น มุสลิมรักสันติ จริงหรือไม่ ให้ท่านผู้อ่านพิจารณา)
มหาวิทยาลัยนาลันทาก็สูญ พระพุทธศาสนาก็สิ้น พระที่หนีไปรอด ก็ขนเอาคัมภีร์ไปได้บ้าง เช่น หนีไปพม่า เนปาล ธิเบต ฯลฯ
พระสงฆ์อีกพวกหนึ่ง ที่อยู่วิเวกตามป่าเขา ซึ่งไม่อาจสนใจเหตุการณ์บ้านเมือง หรือโลกภายนอก นั่งหลับตาอย่างเดียว เมื่อบ้านเมืองเปลี่ยนแปลงไปไม่ช้า พระสงฆ์เหล่านั้นก็สูญสิ้นไปด้วย เพราะอยู่ไม่ได้
ก็ถือว่าหมดยุคพระพุทธศาสนา สูญสิ้นไปจากอินเดีย เมื่อ พ.ศ. ๑๗๐๐ เศษ ด้วยการฆ่า ฟัน ทำลาย ของพวกซาตานมุสลิม
ก่อนมุสลิมจะเข้ามาทำลายนั้น พระพุทธศาสนาค่อนข้างจะอ่อนแออยู่แล้ว ด้วยการที่มีความเสื่อมโทรมในตัวเอง และไปกลมกลืนกับศาสนาฮินดู ซึ่งไม่พอใจพระพุทธศาสนาอยู่แล้ว มุสลิมเข้ามาก็เลยพังไปด้วยประการฉะนี้แล
จาก จาริกบุญ จาริกธรรม พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต)

Comments :

0 ความคิดเห็น to “ดินแดนเกิดของศาสนาอิสลามและเข้าทำลายพุทธศาสนาในอินเดีย”

แสดงความคิดเห็น

 

ผู้ติดตาม

ออนไลน์หน้านี้

free counters